Post by Trademaxthai Admin on Apr 28, 2023 4:43:38 GMT 7
สำหรับเพื่อนๆ ที่เข้าอ่านคู่มือในห้องนี้ ให้เราทำการตั้งค่า Indicators
ตามเงื่อนไขในการใช้งานอินดิเคเตอร์ Williams %R ร่วมกับ Stochastic RSI จากลิงค์คู่มือด้านล่างนี้ก่อน
เทคนิคการหาจุดกลับตัวของราคา ไม่ว่าฝั่ง Sell หรือมาฝั่ง Buy เมื่อนำมาใช้งานคู่กับเส้นเทรนไลน์
ก็จะทำให้มีความแม่นยำสูงมากๆ
ก็จะทำให้มีความแม่นยำสูงมากๆ
เทคนิคการเทรดช่วงโครงสร้างของราคาที่เป็น Uptrend หรือตลาดที่เป็นแนวโน้มขาขึ้น
เราจะ Sell เมื่อ..? เมื่อราคาเกิด Swing High
1.ราคาเลยแนวต้านขึ้นไป ใน Time Frame 15 นาที
2.เริ่มเห็นสัญญาณการกลับตัวของแท่งเทียน ฝั่งขาลง
3.อินดิเคเตอร์ Stochastic RSI เส้นสีน้ำเงินเริ่มตัดกับเส้นสีส้ม ลงมา
4.อินดิเคเตอร์ Williams %R เส้นสีม่วงตัดกับเส้น Upper Band -30.00 ลงมา
2.เริ่มเห็นสัญญาณการกลับตัวของแท่งเทียน ฝั่งขาลง
3.อินดิเคเตอร์ Stochastic RSI เส้นสีน้ำเงินเริ่มตัดกับเส้นสีส้ม ลงมา
4.อินดิเคเตอร์ Williams %R เส้นสีม่วงตัดกับเส้น Upper Band -30.00 ลงมา
ไม่แนะนำให้ Sell ตรงแนวต้าน อย่างน้อยราคาควรทะลุขึ้นไปก่อน
และไม่แนะนำให้ Buy ตรงแนวรับ ควรให้ราคาหลุดลงมาก่อน แล้วค่อยหาจังหวะ Buy
เนื่องจากจะเป็นกับดักของตลาด Forex และทองคำ
สาเหตุ เพราะว่าการเคลื่อนที่ของกราฟ ของนักลงทุนรายใหญ่ หรือบางคนอาจเรียกว่าเจ้ามือของตลาด เค้ามักจะเคลื่อนที่ไปในทิศทาง
ที่มีคำสั่งซื้อ / ขายล่วงหน้า ในจำนวน หรือมีปริมาณเยอะๆ
เช่นคำสั่ง Sell Limit / Buy Stop / Sell Stop / Buy Limit เป็นต้น
และไม่แนะนำให้ Buy ตรงแนวรับ ควรให้ราคาหลุดลงมาก่อน แล้วค่อยหาจังหวะ Buy
เนื่องจากจะเป็นกับดักของตลาด Forex และทองคำ
สาเหตุ เพราะว่าการเคลื่อนที่ของกราฟ ของนักลงทุนรายใหญ่ หรือบางคนอาจเรียกว่าเจ้ามือของตลาด เค้ามักจะเคลื่อนที่ไปในทิศทาง
ที่มีคำสั่งซื้อ / ขายล่วงหน้า ในจำนวน หรือมีปริมาณเยอะๆ
เช่นคำสั่ง Sell Limit / Buy Stop / Sell Stop / Buy Limit เป็นต้น
คำสั่ง Sell Limit เป็นการตั้งคำสั่ง Sell ล่วงหน้าไว้ด้านบน ของราคาที่กำลังวิ่งอยู่ในปัจจุบัน หรือในโซนที่ราคายังวิ่งขึ้นมาไม่ถึงนั่นเอง
การที่นักเทรดส่วนใหญ่ตั้งคำสั่ง Sell limit ค้างไว้ ก็เพราะคิดว่าเมื่อราคาขึ้นชนแนวต้าน แล้วต้องลงไปต่อแน่นอน
และมักจะตั้ง SL หรือ Stop Loss ไว้ด้านบนแนวต้านเล็กน้อย
การที่นักเทรดส่วนใหญ่ตั้งคำสั่ง Sell limit ค้างไว้ ก็เพราะคิดว่าเมื่อราคาขึ้นชนแนวต้าน แล้วต้องลงไปต่อแน่นอน
และมักจะตั้ง SL หรือ Stop Loss ไว้ด้านบนแนวต้านเล็กน้อย
ส่วนคำสั่ง Buy Stop เป็นการตั้งคำสั่ง ซื้อ หรือ Buy ล่วงหน้าไว้ด้านบน ของราคาที่กำลังวิ่งอยู่ในปัจจุบัน หรือในโซนที่ราคายังวิ่งขึ้นมาไม่ถึงนั่นเอง
โดยนักเทรดทั่วไป มักจะตั้งคำสั่ง Buy Stop ไว้บนแนวต้านอีกที เผื่อว่าราคาอาจมีการเบรกทะลุแนวต้านขึ้นมา แล้ววิ่งขึ้นไปต่อแน่นอน
และมักจะตั้ง SL หรือ Stop Loss ไว้ด้านล่างแนวต้านเล็กน้อย
โดยนักเทรดทั่วไป มักจะตั้งคำสั่ง Buy Stop ไว้บนแนวต้านอีกที เผื่อว่าราคาอาจมีการเบรกทะลุแนวต้านขึ้นมา แล้ววิ่งขึ้นไปต่อแน่นอน
และมักจะตั้ง SL หรือ Stop Loss ไว้ด้านล่างแนวต้านเล็กน้อย
เนื่องจากราคาของตลาดมักจะถูกขับเคลื่อนด้วยผู้เล่นรายใหญ่ เช่นธนาคารกลางประเทศต่างๆ
กองทุน สถาบันทางการเงิน หรือบริษัทใหญ่ๆ ซึ่งบางคนอาจเรียกติดปากว่าเจ้า หรือเจ้ามือรายใหญ่ในตลาด
จะมีพฤติกรรม หรือสิ่งที่พวกเค้ามักจะทำบ่อยๆ นั่นก็คือการเคลื่อนไปกิน Stop Loss
หรือการทำ Stop Hunt ย่อมาจาก Stop Loss Hunter นั่นเอง
กองทุน สถาบันทางการเงิน หรือบริษัทใหญ่ๆ ซึ่งบางคนอาจเรียกติดปากว่าเจ้า หรือเจ้ามือรายใหญ่ในตลาด
จะมีพฤติกรรม หรือสิ่งที่พวกเค้ามักจะทำบ่อยๆ นั่นก็คือการเคลื่อนไปกิน Stop Loss
หรือการทำ Stop Hunt ย่อมาจาก Stop Loss Hunter นั่นเอง
สิ่งที่เค้ามักจะทำบ่อยๆ ก็คือขึ้นไปกิน Stop Loss ของฝั่ง Sell Limit ก่อน
แล้วค่อยลงมากิน Stop Loss ของฝั่ง Buy Stop แบบในภาพนี้
แล้วค่อยลงมากิน Stop Loss ของฝั่ง Buy Stop แบบในภาพนี้
เสร็จแล้วก็เข้าสู่โหมดการตีเส้นเทรนไลน์ด้านล่าง เพื่อหาจังหวะเข้า Buy ที่เราได้อ่านไปก่อนหน้านี้ ได้เลยครับ