Post by Trademaxthai Admin on Apr 19, 2023 2:11:11 GMT 7
การหาแนวโน้มของราคา ว่าเป็นขาขึ้น Uptrend หรือขาลง Downtrend หรือวิ่งออกด้านข้างอยู่ในกรอบ ( Sideway )
1.แนวโน้มขาขึ้น เราจะเรียกว่า Uptrend
หรือ Bullish Market เป็นเทรนของตลาดที่กำลังเป็นขาขึ้น
หรือ Bullish Market เป็นเทรนของตลาดที่กำลังเป็นขาขึ้น
2.แนวโน้มขาลง เราจะเรียกว่า Downtrend
หรือ Bearish Market เป็นเทรนของตลาดที่กำลังเป็นขาลง
หรือ Bearish Market เป็นเทรนของตลาดที่กำลังเป็นขาลง
3.แนวโน้มที่ราคาวิ่งอยู่ในกรอบ หรือการพักตัวของราคาเราจะเรียกช่วงนี้ว่า Sideway เป็นช่วงนักลงทุน
อาจยังลังเล หรือกังวล โดยมีปัจจัยที่เกี่ยวกับข้องข่าวต่างๆของตลาด
อาจยังลังเล หรือกังวล โดยมีปัจจัยที่เกี่ยวกับข้องข่าวต่างๆของตลาด
ตัวอย่าง กราฟที่เป็นแนวโน้มขาขึ้น หรือ ( Uptrend )
และแนวโน้มขาลง หรือ ( Downtrend ) กับแนวโน้มออกด้านข้าง หรือ ( Sideway )
และแนวโน้มขาลง หรือ ( Downtrend ) กับแนวโน้มออกด้านข้าง หรือ ( Sideway )
1.ภาพกราฟตัวอย่าง ของตลาดที่กำลังเป็นเทรนขาขึ้น หรือ Uptrend
ราคาจะมีการวิ่งขึ้น วิ่งลง คล้ายๆ คลื่น โดยค่อยๆ ไต่ขึ้นไปด้านบน
แล้วเราจะมีวิธีการสังเกตอย่างไร ว่าราคากำลังจะเปลี่ยน เป็นเทรนขาขึ้น หรือ Uptrend
ภาพนี้ จะเป็นวัฏจักรของราคา ซึ่งจะวิ่งเป็นเทรนขาลงและวิ่งเป็นขาขึ้น ซ้ำไปซ้ำมา
เพราะเมื่อราคาลงไปถึงจุดๆ หนึ่ง จะมีการซื้อขึ้นมา เพื่อขายทำกำไร จะเป็นแบบนี้ตลอด
เพราะเมื่อราคาลงไปถึงจุดๆ หนึ่ง จะมีการซื้อขึ้นมา เพื่อขายทำกำไร จะเป็นแบบนี้ตลอด
เมื่อนักลงทุนเห็นว่าราคาลงต่ำเกินไปแล้ว หรือราคาไม่น่ำลงไปต่ำกว่านี้ได้อีก ก็จะสร้างจุดที่เรียกว่าการจบเทรนของขาลง
แต่ในโลกความเป็นจริงไม่มีใครรู้อนาคตได้ล่วงหน้าว่าราคาจะเปลี่ยนจากเทรนของขาลง ไปเป็นขาขึ้นตอนช่วงไหน
ดังนั้น นักเทคนิคและนักวิเคราะห์เค้าจะใช้เทคนิคอะไรเพื่อนๆ สามารถอ่านต่อหน้าถัดไปได้เลย
ทุกครั้งเมื่อราคาเริ่มมีแนวโน้มเป็นเทรนขาขึ้นกราฟจะสร้าง จุดต่ำสุด ที่สูงขึ้นกว่าจุดสูงสุดเดิมก่อนหน้านี้
หรือต่างประเทศจะเรียกว่าจุดเป็น HL ( Higher Low )
หรือต่างประเทศจะเรียกว่าจุดเป็น HL ( Higher Low )
Step ที่ 1 เราจะต้องหาจุดที่เป็น Higher Low ตัวย่อ HL ของราคาให้เจอก่อน
Step ที่ 2 หลังจากได้จุดที่เป็น Higher Low ( HL ) แล้ว สิ่งสำคัญที่นักเทคนิครอให้เกิดขึ้นอีก 1 อย่าง
คือ รอให้ราคาขึ้นไปสร้างจุดสูงสุด ที่สูงกว่าจุดสูงสุดเดิม หรือ High เดิม
จุดนี้ จะเป็นจุดที่นักเทรดส่วนใหญ่รอคอยนั้นก็คือจุดสูงสุด ที่อยู่สูงกว่าจุดสูงสุดเดิมก่อนหน้า
Step ที่ 3 หลักที่เราได้จุดที่เรียกว่า Higher High ( HH ) หรือจุดสูงสุดใหม่เจอแล้ว
สิ่งที่นักเทรดส่วนใหญ่จะทำต่อไป นั่นก็คือ การตีเส้นเทรนเทรนไลน์ ( Trendline )
โดยเทคนิคการตีเส้นเทรนไลน์นั้น เราจะเริ่มตีเส้นจากจุดที่เป็น Low ( L )
แล้วทแยง เฉียงขึ้นไปที่จุด HL หรือ Low ใหม่ เพื่อประคองแนวโน้ม
แล้วทแยง เฉียงขึ้นไปที่จุด HL หรือ Low ใหม่ เพื่อประคองแนวโน้ม
Step ที่ 4 จากนั้น สำหรับนักเทรดที่เน้นฝั่ง BUY
จะเข้า BUY กันเยอะในช่วงที่ราคาย่อลงมาชนกับเส้นเทรนไลน์ แบบตัวอย่าง
จะเข้า BUY กันเยอะในช่วงที่ราคาย่อลงมาชนกับเส้นเทรนไลน์ แบบตัวอย่าง
หากราคาวิ่งขึ้นไปสร้างจุดสูงสุดใหม่ ที่สูงกว่าจุด Higher High ( HH )
เดิมก่อนหน้านี้ ตรงนี้เราจะเรียกว่า Higher High ( HH ) ใหม่
เดิมก่อนหน้านี้ ตรงนี้เราจะเรียกว่า Higher High ( HH ) ใหม่
ส่วนตรงนี้ก็จะเรียกว่า Higher Low ( HL ) หรือจุดต่ำสุดที่เกิดขึ้นใหม่ ที่สูงขึ้นกว่าจุดต่ำสุดเดิม
Step ที่ 5 ตัวช่วยในการตัดสินเข้า BUY ที่นักเทรดส่วนใหญ่ จะใช้กันบ่อย
เมื่อราคาวิ่งลงมาชนที่เส้นเทรนไลน์ตามเทคนิค นั่นก็คือ Price Action ของแท่งเทียน
โดยจะเน้นที่แท่งเทียนสีเขียว มีขนาดสูงกว่าแท่งเทียนสีแดง
หรือรูปแบบที่เรียกว่า bullish engulfing หมายถึง แรงซื้อมีเข้ามามากกว่าฝั่งขาย ซึ่งมีโอกาสที่ราคาจะวิ่งขึ้นไปได้อีก
หรือรูปแบบที่เรียกว่า bullish engulfing หมายถึง แรงซื้อมีเข้ามามากกว่าฝั่งขาย ซึ่งมีโอกาสที่ราคาจะวิ่งขึ้นไปได้อีก
Trick เพิ่มเติมอีกหน่อย สำหรับการนับคลื่นแบบเบื้องต้นด้วยการหา 3 หรือจุดที่เป็น Higher High จุดแรกให้เจอ
เราอาจเคยได้ยินโค้ช หรือ อาจารย์บางท่านบอกให้เราหา 3 ให้เจอก่อน
เราอาจเคยได้ยินโค้ช หรือ อาจารย์บางท่านบอกให้เราหา 3 ให้เจอก่อน
จากนั้นจะได้จุดย่อของราคา. เพื่อคอนเฟิร์มว่าเป็นเทรนของขาขึ้นหรือ Uptrend แล้วค่อยเข้าออเดอร์ BUY อีกที
ตัวอย่าง กราฟที่มีแนวโน้มเป็นขาขึ้น หรือ Uptrend ในฝั่ง BUY
เมื่อราคาได้ลงไปสร้างจุด Lower Low ที่อยู่ด้านล่างสุด แล้วตัดเส้นเทรนไลน์สีฟ้าขึ้นมา สร้างจุด High ใหม่
ที่สูงกว่าจุด Lower High ( LH ) ก่อนหน้านี้. เราจะเรียกจุด High ใหม่ จุดนี้ว่าเป็น Higher High (HH ) ทันที
( รูปทรงคล้ายๆ กันเสียทรงของกราฟ )
สำหรับฝั่ง BUY จุดเข้าที่ได้เปรียบ จะอยู่ตรงโซนที่ราคาลงไปทดสอบกับเส้นเทรนไลน์ เป็นจุด HL ในภาพอีกที
ที่สูงกว่าจุด Lower High ( LH ) ก่อนหน้านี้. เราจะเรียกจุด High ใหม่ จุดนี้ว่าเป็น Higher High (HH ) ทันที
( รูปทรงคล้ายๆ กันเสียทรงของกราฟ )
สำหรับฝั่ง BUY จุดเข้าที่ได้เปรียบ จะอยู่ตรงโซนที่ราคาลงไปทดสอบกับเส้นเทรนไลน์ เป็นจุด HL ในภาพอีกที
บทความ และเทคนิคในห้องนี้ อาจใช้งานได้ไม่ 100 % ขึ้นอยู่กับความผันผวนของตลาด Forex และทองคำในช่วงนั้นๆ
เพื่อนๆ อาจนำไปประยุกต์ใช้งาน ให้เหมาะกับความถนัดของแต่ละคนอีกทีได้เลยครับ
😀 บทความ และเทคนิคในห้องนี้ อาจใช้งานได้ไม่ 100 % ขึ้นอยู่กับความผันผวนของตลาด Forex และทองคำในช่วงนั้นๆ
เพื่อนๆ อาจนำไปประยุกต์ใช้งาน ให้เหมาะกับความถนัดของแต่ละคนอีกทีได้เลยครับ