Post by Trademaxthai Admin on Apr 10, 2023 0:38:13 GMT 7
ปัจจัยพื้นฐานที่ส่งผลให้ต่อการขึ้นลงของค่าเงิน ในแต่ละประเทศ
1.ปัจจัยเกี่ยวกับการนำเข้า และส่งออกสินค้า
หากประเทศใด ประเทศนึงมีการส่งออกสินค้ามากว่าการนำเข้า หรือเกินดุลการค้า
จะมีเงินทุนจากต่างประเทศเข้าไปอยู่ในประเทศมากๆ จะทำให้ค่าเงินประเทศนั้นแข็งค่าขึ้น
ยกตัวอย่าง หากประเทศไทย มีการส่งออกสินค้าไปขายที่อเมริกา สูงกว่าการนำเข้า ก็จะทำให้ไทยมีเงินของ US Dollar มากในช่วงนั้น
จะมีเงินทุนจากต่างประเทศเข้าไปอยู่ในประเทศมากๆ จะทำให้ค่าเงินประเทศนั้นแข็งค่าขึ้น
ยกตัวอย่าง หากประเทศไทย มีการส่งออกสินค้าไปขายที่อเมริกา สูงกว่าการนำเข้า ก็จะทำให้ไทยมีเงินของ US Dollar มากในช่วงนั้น
เมื่อถูกนำไปแลกเป็นเงินบาทไทย จะทำมีอุปสงค์ความต้องการเงินบาทเพิ่มมากขึ้น
เมื่ออุปสงค์เยอะขึ้น จะทำให้ค่าเงินบาทของไทยแข็งค่าขึ้นนั่นเอง ( ส่งออกมากกว่านำเข้า คือ เกินดุลการค้า )
แต่หากมีการนำเข้าสินค้ามากกว่าการส่งออก หรือขาดดุลการค้า
จะมีการเคลื่อนย้ายเงินทุนในประเทศออกไปต่างประเทศมากขึ้น จะทำให้ในประเทศมีเงิน US dollar
น้อยลง มีการต้องการแลกเงินบาท เป็นเงิน US dollar เพื่อนำออกไปนอกประเทศมากขึ้น
จะส่งผลให้เงินบาท THB มีค่าลดลง ค่าเงินบาทจะอ่อนค่าลง เป็นต้น
แต่หากมีการนำเข้าสินค้ามากกว่าการส่งออก หรือขาดดุลการค้า
จะมีการเคลื่อนย้ายเงินทุนในประเทศออกไปต่างประเทศมากขึ้น จะทำให้ในประเทศมีเงิน US dollar
น้อยลง มีการต้องการแลกเงินบาท เป็นเงิน US dollar เพื่อนำออกไปนอกประเทศมากขึ้น
จะส่งผลให้เงินบาท THB มีค่าลดลง ค่าเงินบาทจะอ่อนค่าลง เป็นต้น
2.ปัจจัยที่เกี่ยวกับการขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางของแต่ละประเทศ
ซึ่งปกติ การเคลื่อนที่ของเงินทุน จะมีการเคลื่อนที่จะประเทศที่อัตราดอกเบี้ยที่ต่ำ
ไปประเทศที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่า เนื่องจากนักลงทุนมองว่าการเสี่ยงที่เท่ากันแต่ได้ผลตอบแทน
ที่สูงกว่า เมื่อมีการขึ้นดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลาง ประเทศใดประเทศนึง
จะส่งผลให้ค่าเงินประเทศนั้นแข็งค่าขึ้น
ไปประเทศที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่า เนื่องจากนักลงทุนมองว่าการเสี่ยงที่เท่ากันแต่ได้ผลตอบแทน
ที่สูงกว่า เมื่อมีการขึ้นดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลาง ประเทศใดประเทศนึง
จะส่งผลให้ค่าเงินประเทศนั้นแข็งค่าขึ้น
หากอัตราดอกเบี้ยของสหรัฐอเมริกาปรับตัว “ลดลง”
แต่อัตราดอกเบี้ยของประเทศไทย “ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงนั้น”
โดยเปรียบเทียบ ทำให้ส่งผลให้มีเงินลงทุนเคลื่อนย้ายเข้าประเทศไทยมากขึ้น
เงินทุนที่เคลื่อนย้ายเข้ามา และจะถูกแลกเป็นเงินบาท
ทำให้ความต้องการซื้อเงินบาทสูงขึ้น จะทำให้ค่าเงินบาทของไทยแข็งค่าขึ้น
แต่อัตราดอกเบี้ยของประเทศไทย “ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงนั้น”
โดยเปรียบเทียบ ทำให้ส่งผลให้มีเงินลงทุนเคลื่อนย้ายเข้าประเทศไทยมากขึ้น
เงินทุนที่เคลื่อนย้ายเข้ามา และจะถูกแลกเป็นเงินบาท
ทำให้ความต้องการซื้อเงินบาทสูงขึ้น จะทำให้ค่าเงินบาทของไทยแข็งค่าขึ้น
ในทางตรงกันข้าม หากอัตราดอกเบี้ยไทยปรับตัวลดลง
ก็จะทำให้อัตราดอกเบี้ยโดยเปรียบเทียบของไทยกับต่างประเทศที่ยัง “ไม่ได้เปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย”
ส่งผลให้มีเงินทุนไหลออก จึงมีความต้องการขายเงินบาทเพื่อนำไปแลกเปลี่ยนเป็นเงินดอลลาร์ฯเพิ่มขึ้นค่าเงินบาทจึงอ่อนค่าลง
ก็จะทำให้อัตราดอกเบี้ยโดยเปรียบเทียบของไทยกับต่างประเทศที่ยัง “ไม่ได้เปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย”
ส่งผลให้มีเงินทุนไหลออก จึงมีความต้องการขายเงินบาทเพื่อนำไปแลกเปลี่ยนเป็นเงินดอลลาร์ฯเพิ่มขึ้นค่าเงินบาทจึงอ่อนค่าลง
3.นโยบายทางการเงินของธนาคารกลาง แต่ละประเทศ
ยกตัวอย่าง ธนาคารแห่งกลางประเทศต่างๆ สามารถกำหนดปริมาณเงินในระบบการเงิน
ผ่านมาตรการต่างๆ เช่น มาตรการดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง และการดำเนินการผ่านตลาดการเงิน เป็นต้น
ซึ่งมาตรการเหล่านี้จะส่งผลให้อุปสงค์และอุปทานของเงินเปลี่ยนแปลงไป
และทำให้ค่าเงินเปลี่ยนแปลงตาม
เช่น หากธนาคารกลางเห็นว่าเงินเฟ้ออยู่ในระดับที่สูงเกินไป
จึงกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องตามกฎหมายเพิ่มขึ้น
ทำให้เงินที่ธนาคารพาณิชย์สามารถปล่อยกู้ได้มีจำนวนลดลง ส่งผลให้ปริมาณเงินในประเทศลดลงตาม
จึงเปรียบเสมือนกับการลดอุปทานหรือลดปริมาณของเงินทำให้ค่าเงินประเทศนั้นๆ
มีแนวโน้มที่ค่าเงินจะแข็งขึ้น เนื่องจากมีความต้องการมาก
ผ่านมาตรการต่างๆ เช่น มาตรการดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง และการดำเนินการผ่านตลาดการเงิน เป็นต้น
ซึ่งมาตรการเหล่านี้จะส่งผลให้อุปสงค์และอุปทานของเงินเปลี่ยนแปลงไป
และทำให้ค่าเงินเปลี่ยนแปลงตาม
เช่น หากธนาคารกลางเห็นว่าเงินเฟ้ออยู่ในระดับที่สูงเกินไป
จึงกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องตามกฎหมายเพิ่มขึ้น
ทำให้เงินที่ธนาคารพาณิชย์สามารถปล่อยกู้ได้มีจำนวนลดลง ส่งผลให้ปริมาณเงินในประเทศลดลงตาม
จึงเปรียบเสมือนกับการลดอุปทานหรือลดปริมาณของเงินทำให้ค่าเงินประเทศนั้นๆ
มีแนวโน้มที่ค่าเงินจะแข็งขึ้น เนื่องจากมีความต้องการมาก
แต่ในขณะเดียวกัน หากธนาคารกลางเห็นว่าเงินฝืดอยู่ในระดับสูงเกินไป
จึงกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ลดระดับอัตราดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์
ทำให้ปริมาณเงินในระบบเพิ่มขึ้น เปรียบเสมือนการเพิ่มอุปทานของเงิน
ซึ่งจะส่งผลให้ค่าเงินในประเทศนั้นมีแนวโน้มที่จะอ่อนค่าลง
จึงกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ลดระดับอัตราดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์
ทำให้ปริมาณเงินในระบบเพิ่มขึ้น เปรียบเสมือนการเพิ่มอุปทานของเงิน
ซึ่งจะส่งผลให้ค่าเงินในประเทศนั้นมีแนวโน้มที่จะอ่อนค่าลง
4.ปัจจัยเกี่ยวกับการเมือง และเศรษฐกิจภายในประเทศนั้นๆ
หากประเทศไหนที่เศรษฐกิจดี ค่าเงินในประเทศนั้นจะแข็งค่าตามไปด้วย
เช่น มีการจ้างงานที่สูงขึ้น,เงินเฟ้อลดลงและมีการซื้อขายเกี่ยวอสังหาริมทรัพย์สูงขึ้น
หรือมีการลงทุนโครงการใหญ่ๆ จากต่างประเทศ และมี GDP ในประเทศสูงขึ้น
ก็จะส่งผลให้ค่าเงินแข็งค่าขึ้น เนื่องจากนักลงทุนมีความมั่นใจที่จะซื้อค่าเงินนั้นเก็บไว้
เพื่อเก็งกำไร และลดความเสี่ยงจากการลงทุนประเภทเดียวกัน
เช่น มีการจ้างงานที่สูงขึ้น,เงินเฟ้อลดลงและมีการซื้อขายเกี่ยวอสังหาริมทรัพย์สูงขึ้น
หรือมีการลงทุนโครงการใหญ่ๆ จากต่างประเทศ และมี GDP ในประเทศสูงขึ้น
ก็จะส่งผลให้ค่าเงินแข็งค่าขึ้น เนื่องจากนักลงทุนมีความมั่นใจที่จะซื้อค่าเงินนั้นเก็บไว้
เพื่อเก็งกำไร และลดความเสี่ยงจากการลงทุนประเภทเดียวกัน
แต่หากประเทศไหนที่มีอัตราเงินเฟ้อสูง และอัตราการว่างงานสูง
รวมไปถึง GDP ในประเทศลดลง เศรษฐกิจภายในประเทศขาดเสถียรภาพ
การขายที่อยู่อาศัยในโครงการใหม่ๆ ลดลง และหากมีปัญหาเกี่ยวกับการเมือง
เช่น มีการปฏิวัติ หรือการประท้วงใหญ่ ซึ่งส่งผลต่อนักลงทุนต่างประเทศ
ขาดความมั่นใจ ก็จะมีการเคลื่อนย้ายเงินออกไปไว้ที่ประเทศอื่น
จึงทำให้ค่าเงินในประเทศที่มีปัญหาดังกล่าวอ่อนค่าลง เป็นต้น
รวมไปถึง GDP ในประเทศลดลง เศรษฐกิจภายในประเทศขาดเสถียรภาพ
การขายที่อยู่อาศัยในโครงการใหม่ๆ ลดลง และหากมีปัญหาเกี่ยวกับการเมือง
เช่น มีการปฏิวัติ หรือการประท้วงใหญ่ ซึ่งส่งผลต่อนักลงทุนต่างประเทศ
ขาดความมั่นใจ ก็จะมีการเคลื่อนย้ายเงินออกไปไว้ที่ประเทศอื่น
จึงทำให้ค่าเงินในประเทศที่มีปัญหาดังกล่าวอ่อนค่าลง เป็นต้น
โดยในบทความนี้ อาจมีบางบรรทัดที่ Admin พิมพ์ผิด พิมพ์ถูกต้องขออภัยทุกท่านล่วงหน้าด้วยครับผม